วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

DDM กับหุ้นปันผล


บทความคัดลอกจาก  http://clubvi.com/2012/09/27/ddm/ 
DDM กับ “เครื่องจักรผลิตเงินสด”
Posted on กันยายน 27, 2012



โดย Club VI

วิธีประเมินมูลค่าหุ้นที่เป็นรูปธรรมมากๆ วิธีหนึ่งคือ การมองหุ้นว่าเป็น “เครื่องจักรผลิตเงินสด” ของเรา

เมื่อมองว่า “หุ้น” คือ “เครื่องจักรผลิตเงินสด” “คุณค่า” หรือ “มูลค่า” ของมัน จึงขึ้นอยู่กับปริมาณเงินสดที่มันจะผลิตให้เราได้ เราจึงต้องพิจารณาว่าเครื่องจักรนี้ปั๊มเงินสดออกมาได้ “มาก” และ “บ่อยครั้ง” แค่ไหน ถ้าผลิตเงินได้ครั้งละมากๆ และบ่อยๆ มูลค่าของมันก็ควรจะมากตามไปด้วย

ใช่แล้วครับ … เรากำลังพูดถึงการประเมินมูลค่าหุ้นจาก “เงินปันผล”

ความจริงการประเมินมูลค่าหุ้นด้วยโมเดล “การคิดลดเงินปันผล” (Dividend Discount Model หรือ DDM) ไม่ใช่เรื่องใหม่ หลายคนน่าจะเคยได้ยิน หรือเคยเห็นวิธีพิสูจน์ผ่านสมการซับซ้อนต่างๆ มาแล้ว… บางคนเห็นแล้วอาจหน้ามืดตาลายได้เลยทีเดียว

เอาเป็นว่า ในที่นี้ เราจะอธิบายกันแบบสั้นๆ ง่ายๆ ชัดเจน ให้รู้เท่าที่ต้องรู้ รู้แล้วไม่ปวดหัวนะครับ

เริ่มต้นกันเลยดีกว่า…

สมมติว่าเราเป็นเด็กตัวน้อย มองดูเงินปันผลที่ผลิตออกมาจากเครื่องจักรในแต่ละปี “มูลค่า” หรือราคาที่เหมาะสมของเครื่องจักรนี้ก็จะเท่ากับกระแสเงินสดทั้งหมดในอนาคตที่มันจะหยิบยื่นให้กับเรา อ้อ! เงินปันผลแต่ละก้อนต้องผ่านการ “คิดลด” กลับมาที่เวลาปัจจุบันด้วยนะ (อธิบายไว้แล้วก่อนหน้านี้ ไปอ่านได้ครับ http://clubvi.com/2012/08/31/dcf/ )


ใครที่รู้จักวิธีคิดลดกระแสเงินสดแล้ว คงจะพอมองออกว่า “ราคาที่เหมาะสม” หรือ P* ของเครื่องจักรปันผลตามโมเดลดังกล่าวจะเป็นดังนี้ (ผมใช้ P* จะได้ไม่สับสนกับ P ซึ่งเป็นราคาปัจจุบันของหุ้นนะครับ)


สำหรับคนที่มองไม่ออกก็ไม่ต้องกังวลครับ เอาเป็นว่าเจ้าสมการนี้สามารถลดรูปให้สั้นลงได้อย่างไม่น่าเชื่อ ซึ่งก็ต้องยกความดีความชอบให้นักคณิตศาสตร์เขาล่ะครับ


พอเป็นสมการสั้นๆ แบบนี้ สบายตาขึ้นเยอะเลยใช่ไหมครับ จากนี้ไปเราก็มี “วิธีใช้” อยู่ 2 วิธี

วิธีแรก หาราคาที่จะเข้าซื้อหุ้น สมมติหุ้น บมจ.กระเบื้องตราพลอย จ่ายเงินปันผลปีละ 0.40 บาท เราคาดหวังอัตราผลตอบแทนในระยะยาวปีละ 8% นั่นหมายความว่า ราคาที่เหมาะสม (P*) ควรจะเท่ากับ 0.40 / 0.08 = 5 บาท

วิธีที่สอง ประเมินราคาปัจจุบันว่าน่าสนใจหรือยัง ถ้าผมจัดรูปสมการใหม่นิดหน่อย แล้วแทนที่ราคาที่เหมาะสมของหุ้นด้วยราคาตลาดแทน ทีนี้ก็จะรู้ว่าหากผม “บังคับ” ตัวเองให้ซื้อหุ้นที่ราคาปัจจุบัน ตลาดจะบีบให้ผมต้องยอมรับอัตราผลตอบแทนเท่าไหร่


สมมุติ ตัวอย่างเดิม หุ้นกระเบื้องตราพลอย ซื้อขายกันอยู่ที่ 6.40 บาท งานนี้ผมจะได้อัตราผลตอบแทนเพียงแค่ 0.40 / 6.40 = 6.25% ผมจะถามตัวเองว่าอัตราผลตอบแทนแค่นี้พอรับได้หรือไม่ หากคิดว่ามันต่ำเกินไป ผมก็จะไม่ซื้อหุ้น

ข้อจำกัดของวิธีนี้คือ มันมีพื้นฐานมาจากสมมติฐานว่าเงินปันผลในแต่ละปีจะ “คงที่” ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว บริษัทส่วนใหญ่มักจ่ายเงินปันผลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามผลกำไรที่เพิ่ม ดังนั้นโมเดลนี้อาจไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงมากนัก

การคาดการณ์เงินปันผลในแต่ละปีต่ำกว่าความเป็นจริง ส่งผลให้เราประเมินมูลค่าหุ้นออกมา “ต่ำกว่าที่ควร” อย่างหุ้นกระเบื้องตราพลอย ซึ่งเราประเมินราคาที่เหมาะสมออกมาได้ 5 บาท อันนี้ก็น่าจะเป็นราคาที่ต่ำเกินไปสักหน่อย

ด้วยเหตุนี้ ไมรอน กอร์ดอน จึงหยิบเอาสมมติฐานเรื่อง “การเติบโตของเงินปันผล” (g) ใส่เพิ่มเข้าไปในโมเดลเดิม กลายเป็นโมเดลใหม่ที่รู้จักกันในนาม Gordon Growth Model ในโมเดลนี้ มูลค่าหรือราคาที่เหมาะสมของหุ้นจะเท่ากับ


จากตัวอย่างเดิม หุ้นกระเบื้องตราพลอย (คาดว่า)จะจ่ายเงินปันผลในปีหน้า 0.40 บาท จากนั้นเงินปันผลจะเติบโตในอัตรา g = 3% ต่อปี หากเราคาดหวังอัตราผลตอบแทนในระยะยาวปีละ 8% เช่นเดิม ราคาที่เหมาะสมของหุ้นจะเท่ากับ 0.40 / (0.08 – 0.03) = 8 บาท

โปรดสังเกตว่าเงินปันผล D ในสูตร เป็นเงินปันผลคาดการณ์ในอีก 1 ปีข้างหน้า ส่วนอัตราการเติบโตของเงินปันผลก็มักจะเท่ากับอัตราการเติบโตของกำไรในระยะยาว หากว่าบริษัทสามารถรักษานโยบายการจ่ายเงินปันผลไว้ได้ (เช่น จ่าย 50% ของกำไรสุทธิ เป็นต้น)

หลายคนให้ข้อสังเกตว่า โมเดลของกอร์ดอนแม้จะมีความถูกต้องมากกว่าโมเดลเงินปันผลคงที่ แต่ก็มีความอ่อนไหวต่อ “ค่า g” เช่น ถ้าเราปรับเพิ่มอัตราการเติบโตจาก 3% เป็น 4% ราคาที่เหมาะสมของหุ้นจะทะยานขึ้นเป็น 10 บาททันที นี่คือสิ่งที่เราต้องระวังอย่างยิ่งหากจะนำวิธีนี้ไปใช้

ในความเห็นของผม โมเดลคิดลดเงินปันผล (DDM) เป็นการมองไปในอนาคตที่ยาวไกลมากๆ สมมติฐานของเราจึงควรสะท้อนมุมมองนี้ด้วย เราต้องมองให้ออกว่าในระยะยาวมากๆ เมื่อธุรกิจถึงจุดอิ่มตัวแล้ว กำไรของบริษัทก็คงจะเติบโตได้พอๆ กับเศรษฐกิจโดยรวม (เช่น 3-4%) และอัตราผลตอบแทนคาดหวัง หรือค่า r ก็คงจะสูงกว่าหุ้นกู้ไม่มากนัก (เช่น 8-10%)

ด้วยมุมมองแบบนี้ จะเห็นได้ว่าวิธี DDM เหมาะกับการประเมินหุ้นที่มีผลประกอบการสม่ำเสมอ แต่ถ้าเป็นหุ้นเติบโตอาจจะประเมินได้ไม่แม่นยำนัก ดังนั้น เวลานำไปใช้ อย่าลืมคำนึงถึงข้อจำกัดตรงนี้ด้วย

อธิบายให้เข้าใจกันง่ายๆ หวังว่าจะถูกใจใครหลายๆ คน โดยเฉพาะนักลงทุนที่เน้น “เงินปันผล” เป็นหลักนะครับ

Share this:

วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2555

ฺBIGC

ติดตามดู @26/9/2555 =185.5

Month 1/10/2555 

Week 1/10/2555 
DAY 2/10/2555

วันที่ 3/10/2555 ราคาขึ้น ATC 205 close 201  High 208 เจอแนวต้านสำคัญที่ 208 




PTT


@25/9/2555=332

ใช้ STO indi ในช่วง Sideway ตามกรอบ SEC
@26/9/2555=328

อีกา ไม่เคยมาตัวเดียว

@3/10/2555 =325 

อีกามา 6 ตัวละ จะมาครบ 13 ตัวปล่าวนะ

BH



 @12/9/2555 = 80.25



@25/9/2555 = 81.25 

@26/9/2555 = 80.5
2/10/2555
DAY 2/10/2555


วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

TUF



 Gernal 24/9/2555 TUF
Fundamental หุ้นปลาทูน่า เปรียบเสมือนม่าม๊าไทย เศรษฐกิจแย่จะขายดี แต่มีต้นทุนการในการหาปลาเพิ่มขึ้น
Technical TF Week EMA 5 < EMA15 แต่ยังยืนใน EMA 15 และ 35 EMA ปากอ้า
ยังบอกว่ายังอยู่ในขาขึ้น
ADX  ให้สัญญานการย่อตัวของการขึ้น ADX ยังไม่จบรอบของการขึ้น
MACD<0 มุดน้ำไปแล้ว และมี Bearish Diver
RSI บอกกำลังของการขึ้นย่อตัวลงเรื่อยๆ

TF DAY EMA5 < EMA15 35 55 แต่ยังยืนบน EMA 90 ได้ ให้สัญญาณ การย่อตัวของราคาตาม TF WEEK
ADX Di->Di+ ADX = 22 ให้สัญญาณไปในทางการย่อตัวลงของราคา
MACD< 0 กำลังของราคาลดลง ต่ำกว่า 0 ให้สัญญานไปทางขาลงของราคา

แต่อยู่ใน SEC TF Month ถ้า < 70 เปลี่ยนเป็นขาลงของ SEC ถ้า >74  อาจไปต่อชนแนว 77 ถ้าผ่าน 77 ไปต่อ 


4/10/2555

วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

CPALL


จำได้ว่าบอกกับตัวเองไว้จะไม่เล่นหุ้นเจ้าสัว แต่ในที่สุดผลของการคันมือ ต้องได้บทเรียนกอดหุ้นไว้ แม้เ้จ้าจะบีบจนขี้ไหล เราก็ต้องอดทนจนหน้าแดง "บทเรียนติดหุ้น"  ตัวนี้ต้องเล่นยาวเล่นสั้นยาก เพราะเจ้ามีจังหวะการลากขึ้น ทุบและกดไม่ให้มีอากาศหายใจ ถอดใจกัน รอดูต่อไป 



SAA ออกบทวิจัยให้ซื้้้อ ตั้งแต่ 14/9/2555 http://www.settrade.com/brokerpage/AnalystConsensus/Research/fss_cpall.pdf

2013 TP 44.00   ถือข้ามปีเลย สรุปตัวนี้ต้องย้ายพอร์ท เปลี่ยนม้ากลางศึกอีกแย้ว 


@25/9/2555 =34

ตอนเข้าซื้อ ลืมดู ADX  มันยังต่ำกว่า 20 ไม่มีเทรนอยู่เลย ถ้าจะเล่นช่วงนี้ ต้องใช้ indi STO เทรด ช่วงsideway หุ้นมีตั้งหลายตัว ไหงมาเลือกตัวนี้นะ 
@26/9/2555  =34
1/10/2555 @36
หลักทรัพย์ บัวหลวง แนะนำ 1/10/2555
 ฺCPALL
  Target 39/40  Stop loss < 35 EMA35
2/10/2555@36.25


Day 2/10/2555 

บัวหลวง ให้เป้า4/10/2555 Target 41/42 Stop loss < 36.25







HMPRO

http://www.set.or.th/set/factsheet.do?symbol=HMPRO&language=th&country=TH
http://www.settrade.com/C04_03_stock_companyhighlight_p1.jsp?txtSymbol=HMPRO&selectPage=3

HMPRO
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) set 50
บริการ/พาณิชย์ข้อมูล ณ วันที่ 31 ส.ค. 2

อัตราผลตอบแทนYTD 2554 2553 
การเปลี่ยนแปลงของราคา (%)12.73 66.68 124.17 
อัตราเงินปันผลตอบแทน (%)1.32 0.24 2.06 
นโยบายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกำไรสุทธิในแต่ละปี
ข้อมูลงบการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน (ลบ.)6M/2555 6M/2554 2554 2553 
เงินสด410.011,483.971,977.321,417.25
ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการค้าสุทธิ861.65174.99986.44164.02
สินค้าคงเหลือ5,552.804,248.734,382.503,714.23
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน7,133.346,511.677,454.525,889.46
ที่ดินอาคารและอุปกรณ์สุทธิ12,449.889,391.9410,812.399,672.82
รวมสินทรัพย์22,077.2818,144.3220,678.0016,591.99
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม----
เจ้าหนี้และตั๋วเงินจ่ายการค้าสุทธิ8,476.165,465.297,291.784,936.83
หนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี2,005.51634.72303.72734.60
รวมหนี้สินหมุนเวียน11,789.498,331.699,115.907,634.17
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน1,801.922,735.743,440.812,719.61
รวมหนี้สิน13,591.4211,067.4312,556.7110,353.78
ทุนจดทะเบียน5,880.575,151.805,881.394,426.61
ทุนที่ออกและชำระเต็มมูลค่า5,865.725,102.305,836.724,352.99
ส่วนเกิน(ต่ำกว่า)มูลค่าหุ้น645.43634.08636.33621.81
ส่วนเกิน(ต่ำกว่า)ทุนอื่น----
กำไร(ขาดทุน)สะสม1,974.761,340.501,648.341,263.41
หุ้นทุนรับซื้อคืน----
ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่8,485.867,076.888,121.296,238.20
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย0.000.010.000.00
เพิ่มเติม
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ลบ.)6M/2555 6M/2554 2554 2553 
ยอดขายสุทธิ16,803.8813,950.5929,176.8724,840.45
รายได้อื่น647.31541.311,325.561,074.45
รวมรายได้17,451.1914,491.9030,502.4325,914.90
ต้นทุนขาย12,173.2410,150.5521,073.9818,052.22
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร3,650.522,966.106,305.555,329.99
รวมค่าใช้จ่าย15,826.8813,131.8327,458.2423,508.39
EBITDA2,197.841,840.004,075.043,266.97
ค่าเสื่อมและค่าตัดจำหน่าย573.53479.931,030.85860.46
กำไรก่อนด/บ และภาษีเงินได้1,624.311,360.073,044.192,406.51
กำไร(ขาดทุน)สุทธิ1,202.09887.112,005.361,638.43
กำไรต่อหุ้น (บาท)0.210.170.340.38
เพิ่มเติม

งบกระแสเงินสด (ลบ.)6M/2555 6M/2554 2554 2553 
เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน1,358.971,523.563,830.462,624.56
เงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน-2,097.44-1,310.87-3,418.73-2,005.68
เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน-828.91-145.96148.45-47.96
เงินสดสุทธิ-1,567.3866.73560.18570.91
เพิ่มเติม

อัตราส่วนทางการเงิน6M/2555 6M/2554 2554 2553 
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)0.610.780.820.77
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)29.8229.1627.9328.47
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)16.4516.1016.3415.80
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)1.601.561.551.66
อัตราส่วนหมุนเวียนทรัพย์สิน (%)1.661.691.641.70
อัตรากำไรขั้นต้น (%)27.5627.2427.7727.33
EBIT Margin (%)9.319.399.989.29
อัตรากำไรสุทธิ (%)6.896.126.576.32

แสดงข้อมูลเฉพาะกรณี PP, PO, XR และ XD
การเปลี่ยนแปลงทุน (3 ปีล่าสุด)
วันที่มีผลประเภทรายการหุ้นเรียกชำระที่เปลี่ยนแปลงหุ้นเรียกชำระ(หุ้น)พาร์
25 ต.ค. 2554XD729,376,7505,835,202,2441.00
25 เม.ย. 2554XD725,813,9645,080,732,5191.00
22 ต.ค. 2553XD621,416,0564,349,934,5521.00
19 ต.ค. 2552XD1,752,012,4393,698,694,6761.00

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)6M/2555 6M/2554 2554 2553 
อัตราการเปลี่ยนแปลงยอดขาย20.4518.1517.4618.21
อัตราการเปลี่ยนแปลงต้นทุนขาย19.9317.4416.7417.26
อัตราการเปลี่ยนแปลงรายได้รวม20.4218.2017.7018.88
อัตราการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายรวม20.5217.4416.8017.28
อัตราการเปลี่ยนแปลงกำไรสุทธิ35.5124.6722.4043.36

ปรับข้อมูลเต็มปี
วงจรเงินสด6M/2555 6M/2554 2554 2553 
อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า)61.80177.7650.72169.67
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)5.912.057.202.15
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า)4.715.175.215.45
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน)77.4570.6170.1266.92
อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้การค้า (เท่า)3.313.913.453.94
ระยะเวลาชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า (วัน)110.1693.47105.9092.54
วงจรเงินสด (วัน)-26.81-20.80-28.59-23.47

เฉพาะหุ้นบุริมสิทธิ และวอแรนท์
หลักทรัพย์อื่นๆ
ชื่อย่อหลักทรัพย์-








@25/9/2555 =13.40

1/10/2555 @ 13.4 
บัวหลสงแนะนำ 1/10/2555 HMPRO  Target 14.5/15
 Stop loss < 13(เส้นแนวต้าน เบรค)